บทความ

เพื่อการเรียนรู้ และเข้าใจความตาย



14 มีนาคม, 2566

สนทนากับผู้ดูแลผ่านงานศิลปะสะท้อนประสบการณ์ดูแลผู้ป่วยระยะท้าย

เรื่องการดูแลผู้ป่วย มักเป็นเรื่องที่แต่ละครอบครัวต้องจัดการกันเอง เรื่องเล่าจากประสบการณ์เหล่านี้แทบไม่เคยถูกสื่อสารออกสู่สังคมภายนอกเท่าไหร่นัก
14 มีนาคม, 2566

คนไร้บ้านกับการวางแผนดูแลสุขภาพล่วงหน้า

การวางแผนสุขภาพล่วงหน้า หรือ Advance care planning (ACP) คือกระบวนการวางแผนการดูแลล่วงหน้าระหว่างผู้ป่วย คนในครอบครัว และบุคลากรทางสุขภาพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างที่ตนต้องการ เมื่อไม่สามารถติดสินใจได้เอง
14 มีนาคม, 2566

นักเรียนเศร้า เราดูแล : งานประชุมเรียนรู้ชุมชนกรุณา

เนื่องด้วยเดือนตุลาคมของทุกปี กลุ่มคนทำงานดูแลแบบประคับประคองสากล ได้ร่วมกันเฉลิมฉลองและสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลแบบประคับประคอง จึงจัดงานประชุมเรียนรู้ชุมชนกรุณา
26 กุมภาพันธ์, 2566

การสนับสนุนพื้นที่ปฏิบัติการสำหรับกระบวนกรชุมชน

การสนับสนุนให้ผู้คนเข้าถึงการตายดีโดยใช้แนวคิดชุมชนกรุณาเพื่อการอยู่และตายดีนั้น กระบวนกรชุมชนหรือผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติ มีทักษะในเรื่องการอยู่อย่างมีความหมาย
18 กุมภาพันธ์, 2566

บันทึกวีดีโอการประชุม Virtual Conference on Death and Grief Literacy

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ผ่านมา ศูนย์การุณรักษ์ ร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดงานประชุม Virtual Conference on Death and Grief Literacy
26 มกราคม, 2566

Last Photo : ภาพความทรงจำสุดท้ายที่เลือกเอง

เช้าตรู่ของวันที่ 11 มกราคม 2566 ณ ศูนย์สร้างสุข อาคารศูนย์แพทย์วัดหนองแวง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
25 มกราคม, 2566

เมื่อลูกรักป่วยด้วยโรคร้าย : ห้องเรียนเบาใจ Live

เมื่อลูกรักป่วยด้วยโรคร้าย เป็นความจริงที่ยากจะยอมรับสําหรับพ่อ แม่ ผู้ปกครอง แตค่ วามเป็นโรคไม่ เลือกวัยว่าเป็นเด็กจะป่วยไม่ได้ เมื่อโรคร้ายมาเยือน
26 ธันวาคม, 2565

รวมเครือชีวามิตรสื่อสาร Palliative care

"วิชาชีวิต มิติการแพทย์" จัดกิจกรรมเวทีเสวนาปิดห้องเรียนในหัวข้อ “การดูแลแบบประคับประคอง..ทางเลือกที่คุณเลือกได้”
12 ตุลาคม, 2565

บทเพลงข้างเตียง: สื่อเสียงเพื่อผู้ป่วยระยะท้ายและการจากไปอย่างสงบ

เราอยู่ในยุคที่การฟังเสียงที่ต้องการไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป ในวันที่ทุกบ้านมีอินเตอร์เน็ต ลูกหลานเพียงแค่หยิบสมาร์ทโฟน สัมผัสหน้าจอแค่ไม่กี่ครั้ง
12 กรกฎาคม, 2565

พีพีอีทางใจ: เมื่อผู้ดูแลต้องการการดูแล

บุคลากรทางการแพทย์ที่มีหน้าที่ดูแลคนไข้หรือผู้ดูแลคนในครอบครัวที่เจ็บป่วยเรื้อรังเป็นเวลานานมักเผชิญกับความเหนื่อยล้าทางกายและใจ
12 กรกฎาคม, 2565

“สติเวปุลโลโพธิ” อนุสรณ์ร่วมสมัยของพระสันติชัย สติเวปุลโล

ตามจารีตประเพณี พิธีศพและพิธีระลึกถึงพระสงฆ์มรณภาพมักไม่ต่างจากฆราวาส แต่พิธีระลึกถึงการมรณภาพของพระสันติชัย สติเวปุลโล
1 กรกฎาคม, 2565

In Loving memory บริการจัดงานรำลึกผู้วายชนม์ออนไลน์ – กิจกรรมของคนที่อยู่เพื่อผู้จากไป

“In Loving memory” คือ บริการจัดงานรำลึกผู้วายชนม์ออนไลน์ ดำเนินการโดย I SEE U Contemplative Care กลุ่มจิตอาสา
12 พฤศจิกายน, 2562

Healthy Living Day เมื่อบริษัทประกันกลายเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนกรุณา

กิจกรรม Healthy Living Day เมื่อวันที่ 2 พ.ย. 62 ถือเป็นอีกหนึ่งหลักไมล์สำคัญของการรักษาแบบประคับประคอง เพราะนอกจาก จะทำให้สังคมได้ทำความรู้จัก “การตายดี” อย่างเป็นวงกว้างผ่านรายการเจาะใจแล้ว อีกสององค์กรที่เป็นผู้สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมนี้ขึ้นได้ก็คือ ชีวามิตรและบริษัทประกันชีวิต อลิอันซ์ อยุธยา (Allianz Ayudhya)
26 กุมภาพันธ์, 2563

ปัญหาและทางแก้ของการรักษาแบบประคับประคองในไทยจากงานสร้างสุขปลายทาง ครั้งที่ 3

งานสร้างสุขที่ปลายทางครั้งที่ 3 โดยสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จับมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อยกระดับความเข้าใจสิทธิการตายตามธรรมชาติและการดูแลแบบประคับประคองผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามมาตรา 12 แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพฯ
1 พฤศจิกายน, 2563

ชุมชนกรุณา Homemade

เรื่องราวของคุณกอเตย ปัญชดา ผ่องนพคุณ ที่ใช้สมุดเบาใจในการเตรียมพร้อมสู่การตายดีทั้งกับตนเองและคนรอบข้าง
22 กุมภาพันธ์, 2563

สร้างสุขที่ปลายทาง ปาฐกถา และ วัตถุประสงค์

ปาฐกถาของเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ นายแพทย์ ประทีป คณะกิจเจริญ และ ปาฐกถาของอธิบดีกรมการแพทย์ นายแพทย์ สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ ในการเปิดงานสร้างสุขที่ปลายทางครั้งที่ 3