CoCoFa-CoCoFriend
พ็อดคาสต์เรื่องเล่าผองเพื่อนชุมชนกรุณา

 
11 กรกฎาคม, 2564

ร้านรับฝากความเศร้า

หลายครั้งเมื่อคนเราตกอยู่ในความเศร้า จนไม่สามารถรับมือและหาทางแก้ไขได้ หลายคนเลือกที่จะเก็บภาวะเหล่านั้นไว้กับตัว โดยไม่รู้ว่าต้องพูดคุยกับใครหรือไปที่ไหน
27 มิถุนายน, 2564

เปิดตัวหนังสือโอบกอดความเศร้า

บอกเล่าถึงการเปลี่ยนผ่านและเติบโตหลังความสูญเสีย สุดท้ายความเป็นมนุษย์ที่งดงามและมีศักยภาพเต็มเปี่ยม
13 มิถุนายน, 2564

ห้องสมุดแมวหางกินส์

ห้องสมุดแมวหางกิ้นส์ ห้องสมุดขนาดเล็ก พื้นที่ทำกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน ตั้งอยู่ที่อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
6 มิถุนายน, 2564

R2R พัฒนางานวิจัยสู่งานประจำ กับอริสา โพธิ์ชัยสาร

คุณมิลค์ อริสา โพธิชัยสาร ทำงานอยู่ในส่วนงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล หรือ “Routine to Research - R2R”
31 พฤษภาคม, 2564

เล่าความตายผ่านการ์ตูน

หลายครั้งการเริ่มต้นบทสนทนาเรื่องความตาย มักจบลงด้วยการเปลี่ยนหัวข้อสนทนา เนื่องจากหลายคนมองความตายเป็นเรื่องอัปมงคล
28 พฤษภาคม, 2564

ชุมชนกรุณานครศรีธรรมราช

ทราบกันดีว่าบุคลากรทางการแพทย์มีภาระงานค่อนข้างมาก ประกอบกับการเดินทางเพื่อไปพบแพทย์หรือโรงพยาบาลสำหรับชุมชนห่างไกลถือเป็นเรื่องยาก
10 พฤษภาคม, 2564

ชุดศิลปะดูแลใจ

การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง รวมถึงโรคเรื้อรังอื่นๆ การรักษาทางกายถือเป็นสิ่งสำคัญ แต่สิ่งที่ละเลยไม่ได้คือการดูแลรักษาสุขภาพใจ รวมถึงมุมมอง
2 พฤษภาคม, 2564

เรื่องเล่าแห่งความขอบคุณ

ทุกวันศุกร์ เพจ Peaceful Death จะมีการเผยแพร่ “เรื่องเล่าแห่งความขอบคุณ” สู่สาธารณะ เป็นการนำเรื่องราวของผู้ป่วย ผู้ดูแล รวมถึงประสบการณ์เกี่ยวกับการสูญเสียของผู้คน
25 เมษายน, 2564

ห้องสมุดผีเสื้อ

พื้นที่สาธารณะ ที่ใช้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้กับผู้สนใจ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ห้องสมุดนี้ตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ
18 เมษายน, 2564

CoCoFa ระบบนิเวศที่เอื้อต่อชุมชนกรุณา กับสุธีลักษณ์ ลาดปาละ และพันธกานต์ อินต๊ะมูล

วมสนทนาเรื่องระบบนิเวศที่เอื้อต่อชุมชนกรุณากับคุณสุธีลักษณ์ ลาดปาละ และคุณพันธกานต์ อินต๊ะมูล ทีมงานชุมชนกรุณาในภาคเหนือที่สนใจเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง
11 เมษายน, 2564

ชุมชนกรุณาออนไลน์ ก.กรุณา

วิกฤตการณ์โควิด-19 ระบาดส่งผลกระทบต่อคนจำนวนมาก รวมถึงวิธีการทำงานที่ต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดรับกับสถานการณ์ จากการสื่อสารที่เห็นหน้าค่าตากันมาสู่การทำกิจกรรมผ่านช่องทางออนไลน์
4 เมษายน, 2564

การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ภาคแรก (มี 2 ภาค)

หลังจากกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่ทำให้ศักยภาพการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในชุมชนเลือนหายไป
28 มีนาคม, 2564

ชีวิตบนถาดทราย การใช้ Sand Tray ดูแลความสูญเสียและสนทนาเรื่องความตาย

การบำบัดบนถาดทราย (Sand tray therapy) แม้จะฟังดูเป็นการบำบัดแนวใหม่ แต่การบำบัดชนิดนี้ถือกำเนิดมากว่า 90 ปีแล้ว
21 มีนาคม, 2564

การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ภาคแรก (มี 2 ภาค)

โครงการชุมชนกรุณาเพื่อการอยู่และตายดี เป็นสื่อกลางนำตัวแทนเครือข่ายต่างๆ มาร่วมกันถอดบทเรียนจากการทำงานเรื่องการดูแลแบบประคับประคองในชุมชน
14 มีนาคม, 2564

ธนาคารเวลา

เมื่อกล่าวถึงธนาคาร เรามักคุ้นเคยกับการรับฝากเป็นตัวเงิน แต่มีธนาคารอีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นการรับฝากเวลา คือ “ธนาคารเวลา” ที่บันทึกชั่วโมงการทำกิจกรรมของสมาชิก
7 มีนาคม, 2564

นิทานความตาย การใช้นิทานสื่อสารเรื่องความตายและความสูญเสีย

คุณเบิร์ด นีลชา เฟื่องฟูเกียรติ กลุ่มละครคิดแจ่ม ทำละครเพื่อสื่อสารกับครอบครัวในประเด็นต่างๆ ผ่านการเล่าเรื่อง แสดงละคร และการเล่านิทาน
1 มีนาคม, 2564

Care Nation ธุรกิจสนับสนุนการตายดี

โดยปกติเราจะมักคุ้นกับการช่วยเหลือในรูปแบบของตัวเงิน จะดีกว่าไหมหากการช่วยเหลือไม่ได้จำกัดเพียงการให้เงิน แต่ยังกระจายความช่วยเหลือไปสู่ฝ่ายอื่นๆ ควบคู่กัน
21 กุมภาพันธ์, 2564

ห้องเรียนไขชีวิต การประยุกต์ใช้เกมไพ่ไขชีวิตในการเรียนการสอนด้านสุขภาพของนักเรียนทันตกรรมชุมชน

คุณอัจฉรา วัฒนาภา หรือ คุณหยิ่ว เป็นอาจารย์ทันตแพทย์ที่สอนนักศึกษาเรื่องทันตกรรมชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ซึ่งใช้แรงบันดาลใจจากเกมส์ไพ่ไขชีวิต
14 กุมภาพันธ์, 2564

บทบาทของร้านหนังสือ Greenbook Cafe กับการทำชุมชนกรุณา

Greenbook Cafe-Space ตั้งอยู่ในตัวเมืองหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นคาเฟ่ เป็นร้านหนังสืออิสระ เป็นพื้นที่การเรียนรู้ชุมชน
7 กุมภาพันธ์, 2564

เส้นทางนักพัฒนาชุมชน

สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งควบคู่ไปการพัฒนาชุมชน คือการพัฒนาตนเองที่ลึกลงไปถึงภายในจิตใจ เพื่อให้เกิดความเข้าใจสถานที่ ชุมชน ผู้คน
24 มกราคม, 2564

ถอดบทเรียนกระบวนกร

คุณสุ้ย วรรณา จารุสมบูรณ์ ผู้ดูแลโครงการชุมชนกรุณาเพื่อการอยู่และตายดี เป็นสื่อกลางนำตัวแทนของเครือข่ายทำงานต่างๆ
18 มกราคม, 2564

อาสาเยาว์วัย

"อาสาสมัครวัยเยาว์ ใส่ใจผู้สูงอายุ" เป็นโครงการนำจิตอาสานักเรียนประถมศึกษา ประมาณ 20 คนไปดูแลและเยี่ยมเยือนผู้สูงอายุในชุมชน 3 หมู่บ้าน
10 มกราคม, 2564

HR Corner ชุมขชนกรุณาในที่ทำงาน

คุณวิชญา โมฬีชาติ นักจิตวิทยาคลินิก โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสนใจเรื่องการเตรียมตัวตายจากการที่คุณพ่อป่วยเป็นมะเร็ง
3 มกราคม, 2564

ชุมชนกรุณาห้วยยอด

พระกฤษดา ขันติกโร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดห้วยยอดและผู้ก่อตั้งชมรมชายผ้าเหลืองเพื่อผู้ป่วยระยะสุดท้าย
27 ธันวาคม, 2563

จิตอาสาเมืองน้ำดำ กรณีการทำงานของกลุ่มอาสาสมัครเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์

คุณจะเอ๋ ดารุณี สุดาอึ้ง ผู้ประสานงานกลุ่มจิตอาสาเมืองน้ำดำ จ.กาฬสินธุ์ และเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นคนชอบถ่ายภาพ
20 ธันวาคม, 2563

วิชาความตาย จากครูสู่กระบวนกร การนำเครื่องมืออของ Peaceful Death ไปใช้ในการเรียนการสอนนักเรียนชั้นมัธยม

ครูแข อัมพิกา ไกรอ่ำ รับราชการครูที่โรงเรียนเชียงคำ จังหวัดพะเยา นำวิชาความตายมาเป็นพื้นที่การเรียนรู้ใคร่ครวญและตระหนักรู้ความจริงของชีวิต
13 ธันวาคม, 2563

หอศิลป์ผู้สูงอายุราชสีมา กระบวนการศิลปะในบ้านพักผู้สูงอายุ

ต่าย ชิดชนก ชาญพรมราช นักศิลปะบำบัดและผู้ดูแลหอศิลป์ผู้สูงอายุราชสีมา จ.นครราชสีมา เล่าให้เราฟัง
6 ธันวาคม, 2563

สันติสนทนากับผู้ป่วยระยะท้าย

สันติสนทนาและบอกเล่าประสบการณ์ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายกับคุณภัสน์วจี ศรีสุวรรณ์ ผู้ใช้ทักษะการสื่อสารและการเขียนสะท้อนเรื่องราวความตาย
29 พฤศจิกายน, 2563

Death Talk

“กลุ่ม Death Talk ความตายและชีวิต” พื้นที่พูดคุยเรื่องความตาย ตั้งอยู่ที่ร้านกาแฟ Clazy Café ซึ่งจัดกิจกรรมพูดคุยหลากหลายประเด็น
22 พฤศจิกายน, 2563

ชุมภูกรุณา พื้นที่ชุมชนกรุณา จ.เชียงใหม่

นอกเหนือจากบทบาทหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ต.ชมภู อ.สารภี จ.เชียงใหม่ แล้ว พ่อหลวงอนันต์ แสงบุญ ยังทำหน้าที่จิตอาสาเรื่องคนพิการ
15 พฤศจิกายน, 2563

สันติภาวัน การก่อตั้งสถานพำนักภิกษุอาพาธระยะท้าย

โดยทั่วไปแล้วฆราวาสส่วนใหญ่เมื่อป่วยระยะสุดท้าย จะได้รับการดูแลจากโรงพยาบาลในระยะหนึ่ง
8 พฤศจิกายน, 2563

ชุมชนกรุณาลำปาง

คุณอิ้น สุธีลักษณ์ ลาดปะละ กระบวนกรอิสระ มีประสบการณ์จัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้เพื่อเข้าใจตัวเองและใจผู้อื่น การค้นหาความหมายของชีวิต
1 พฤศจิกายน, 2563

ชุมชนกรุณา Homemade

เรื่องราวของคุณกอเตย ปัญชดา ผ่องนพคุณ ที่ใช้สมุดเบาใจในการเตรียมพร้อมสู่การตายดีทั้งกับตนเองและคนรอบข้าง
25 ตุลาคม, 2563

แด่มะเร็งที่รัก นิทรรศการภาพผู้เป็นมะเร็ง

คุณพีรดา พีรศิลป์ บรรณาธิการอิสระ อดีตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและรังไข่ คุณออย ไอรีล ไตรสารศรี อดีตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่ 4
18 ตุลาคม, 2563

หนังสืองานศพ online

พชรภี ปิ่นแก้ว เป็นแม่บ้าน เป็นนักเขียน เป็นผู้รับบริการจัดทำหนังสือและสิ่งพิมพ์ และเป็น Ghostwriter (นักเขียนเงา)
10 ตุลาคม, 2563

เปลี่ยนความเศร้าเป็นเข้าใจ กระบวนการเยียวยาจิตใจผ่าน Self Help Group สำหรับผู้สูญเสีย

เรื่องเล่ามิตรภาพของเพื่อนชุมชนกรุณา ผู้ร่วมจัดรายการคือคุณอ๊อด วรรณิภ มาลัยนวล ผู้ดำเนินโครงการเพื่อช่วยเหลือเยียวยา
4 ตุลาคม, 2563

การดูแลจิตใจผู้ดูแลด้วยแคร์คลับ

เปิดประสบการณ์เรียนรู้กับกลุ่มคนทำงานหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น แพทย์ พยาบาล ผู้ดูแลผู้ป่วย และตัวผู้ป่วยเอง
27 กันยายน, 2563

คลินิกเบาใจกับสุณิตา หอมกลิ่น

อดีตพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพุทธชินราชที่ผันตัวไปทำธุรกิจส่วนตัว แต่ด้วยใจรักในงานด้าน palliative care
13 กันยายน, 2563

21 วันพารุ้งมาพบใจแนวคิดและแนวทางการทำงาน

จิตอาสาชุมชนกรุณาขะไจ๋คือกลุ่มเพื่อนที่เป็นนักจิตวิทยาในจังหวัดเชียงรายและลำปาง เพื่อทำงานเรื่องการทำให้คนอยู่ดีและตายดี
6 กันยายน, 2563

CoCoFa ชุมชนกรุณา กับเอกภพ สิทธิวรรณธนะ

โครงการชุมชนกรุณาเพื่อการอยู่และตายดี หรือ Peaceful Death คือทีมที่สนับสนุนให้สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อการอยู่และตายดี
30 สิงหาคม, 2563

CoCoFa คุยด้วยไมตรี กับวรรณวิภา มาลัยนวล

คุณอ๊อด วรรณวิภา มาลัยนวล ผู้สร้างแพลตฟอร์ม “คุยด้วยไมตรี” ผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ เล่าว่า
24 สิงหาคม, 2563

ชุมชนกรุณาเชียงราย กับเจนจิรา โลชา

คุยกับ เจนจิรา โลชา กระบวนกรอิสระ และนักจัดการเรียนรู้ด้านการอยู่และตายดีใน อ.แม่สรวย จ.เชียงราย ผู้ใช้ชีวิตในกรุงเทพฯมากว่า 12 ปี