parallax background
 

ชุมชนกรุณา

เพื่อการเรียนรู้ และเข้าใจความตาย



28 กรกฎาคม, 2561

แด่ผู้สูญเสียผู้เป็นที่รัก

“แทนที่จะโอบรับและเรียนรู้ความสูญเสียในฐานะเป็นบทเรียนหนึ่งของชีวิต เรากลับปฏิบัติต่อมันราวกับเป็นเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่ต้องแก้ไข ทำให้ความเจ็บปวดเป็นพลังด้านลบต่อชีวิต และมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มความเจ็บปวดมากยิ่งขึ้น เหมือนเป็นวงจรอุบาทว์จากนรก”
17 พฤษภาคม, 2562

ชมรมชายผ้าเหลือง เพื่อเพื่อนผู้ป่วยระยะท้าย วัดห้วยยอด (ตอนที่ 3) ศูนย์เยียวยาภิกษุป่วยไข้

การเยี่ยมผู้ป่วยคือการปฏิบัติธรรมที่ลงลึกไปถึงจิตใจ ไม่ได้แค่การเอาของไปให้
16 พฤษภาคม, 2562

ชมรมชายผ้าเหลือง เพื่อเพื่อนผู้ป่วยระยะท้าย วัดห้วยยอด (ตอนที่สอง) จากโรงพยาบาลสู่ชุมชน

การทำงานของชมรมชายผ้าเหลืองในปีแรกจะเป็นการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในโรงพยาบาลหรือติดตามไปดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้านในกรณีที่โรงพยาบาลร้องขอ
8 มิถุนายน, 2562

ผู้สูงอายุที่ป่วยระยะท้ายในบ้านพักคนชรา: ช่องว่างและปัญหาที่ตกหล่นไปจากสังคม

ปี 2015 องค์การอนามัยโลกประกาศเจตนารมณ์ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างมีสุขภาวะ (Healthy ageing) ตามกรอบแนวคิดการเป็นผู้สูงอายุที่มีสมรรถภาพทางกายและใจ (Intrinsic capacity) และคงความสามารถในการใช้ชีวิตในแบบที่ตนให้คุณค่าได้ตลอดชีวิต การเข้าสู่สังคมสูงวัยกลายเป็นประเด็นที่ประชาคมโลกเตรียมแผนรับมือ
17 กันยายน, 2561

อัลไซเมอร์, ตัวตนที่หล่นหาย กับชีวิตที่ไม่ง่ายของคนใกล้ตัว

โรคอัลไซเมอร์ หรือความจำเสื่อม เป็นภาวะสุขภาพที่คุกคามคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และก่อภาระในการดูแลของครอบครัวในขณะเดียวกัน ทัศนคติของผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมาก แม้ว่าการให้ความรักและกำลังใจแก่ผู้ป่วยเป็นสิ่งจำเป็น แต่สิ่งที่สำคัญอีกอย่างคือ ความเข้าใจธรรมชาติของโรค และการดูแลตัวเอง
25 มีนาคม, 2562

ดูแลพระสงฆ์อาพาธระยะท้าย: ช่องว่างและแนวทางเติมเต็ม

สิบกว่าปีที่ผ่านมา สังคมไทยเริ่มเห็นความสำคัญกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายอย่างเป็นองค์รวม ซึ่งทำให้พระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทในฐานะที่พึ่งทางใจหรือจิตวิญญาณของผู้ป่วยชาวพุทธ
17 มิถุนายน, 2562

สายด่วนให้คำปรึกษา ฟันเฟืองสำคัญของการดูแลแบบประคับประคอง

แม้ว่าข้อมูลต่างๆ ของการรักษาแบบประคับประคองจะมีอยู่ในอินเตอร์เน็ตอย่างแพร่หลายแล้ว แต่หากย้อนกลับไปในสมัยที่ระบบการรักษาแบบประคับประคองยังเป็นเพียงเมล็ดพันธุ์เล็กๆ ในสังคมไทย ข้อมูลส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องนั้นเข้าถึงยากเพราะเป็นภาษาต่างประเทศด้วยกันทั้งสิ้น
6 มิถุนายน, 2562

ถอดบทเรียนการประชุม Advance care planning 2019

ศูนย์การุณรักษ์ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น และภาคีเครือข่ายได้จัดประชุมวิชาการหัวข้อ Advance care planning 2019 ผู้ร่วมงานส่วนใหญ่เป็นบุคลากรทางการแพทย์ และกลุ่มคนทำงานเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายกว่า 200 คนจากทั่วประเทศ รวมทั้งทีมสุขภาพจากประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไต้หวัน
18 กุมภาพันธ์, 2562

Co-caring Space ชุมชนมะเร็งพลังบวก

บัณฑิตสาววัย 26 จากรั้วศิลปากรกำลังเตรียมตัวไปศึกษาต่อระดับปริญญาโท เธอเป็นนักกีฬาเทควันโดระดับรับถ้วยชนะเลิศมาหลายรายการ ชีวิตที่กำลังประสบความสำเร็จ สุขภาพแข็งแรง และกำลังก้าวเดินไปข้างหน้าตามแผนที่วางไว้