parallax background
 

ชุมชนกรุณา

เพื่อการเรียนรู้ และเข้าใจความตาย



3 ตุลาคม, 2561

โปรดวางใจในตัวฉัน

ตอนที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ยังเป็นสีขาวโพลนก่อนที่ผมจะเขียนบทความนี้ แม่เดินเข้ามาทางด้านซ้าย วางของที่ถือมาลงบนโต๊ะเสียงดังปังแล้วถอนหายใจยาว
10 กันยายน, 2564

ความรู้เท่าทันความโศกเศร้า

ข้อเสนอหลักการและแนวทางการผลิตสื่อ จัดกิจกรรม และพัฒนาเครือข่ายดูแลใจผู้สูญเสียในช่วงวิกฤตโควิด 2564
1 ตุลาคม, 2561

ถอดบทเรียนชุมชนกรุณาผ่านวรรณกรรม The Perks of Being a Wallflowers : เวทีชีวิตและการเติมเต็ม

วัยรุ่นเป็นช่วงวัยรอยต่อของเด็กและผู้ใหญ่ จากช่วงวัยเด็กที่อยู่ภายใต้การดูแลของพ่อแม่ ผู้ปกครอง พวกเขามีหน้าที่เชื่อฟังเรียนรู้บทเรียนต่างๆ ภายใต้การดูแลโอบอุ้มของผู้ใหญ่ ช่วงวัยรุ่นก็เป็นช่วงวัยที่พวกเขาก้าวเข้าสู่การเปลี่ยนผ่าน
19 กรกฎาคม, 2567

นิทรรศการ “Voice of the Voiceless”

ความกรุณา เป็นความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ แต่หากปรารถนาให้ทุกคนในสังคมพ้นจากความทุกข์ ความกรุณานั้นย่อมเกี่ยวข้องกับการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
16 มกราคม, 2562

สหวิชาชีพบรรเทาทุกข์ บทเรียนจากโรงพยาบาลชลประทาน

การเรียนรู้และเข้าใจความทุกข์ของตนเอง จะช่วยให้มองเห็นความทุกข์ของผู้อื่นชัดเจนขึ้น และด้วยความเข้าใจในทุกข์นั้น ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในฐานะใด มนุษย์เราล้วนเป็นเพื่อนทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น
29 พฤษภาคม, 2566

ศิลปะกับการพัฒนากลุ่มผู้ดูแล

ศิลปะมีพลัง ศิลปะส่งผลต่อความคิดและอารมณ์ความรู้สึกของผู้คน และสร้างผลกระทบทางสังคม ในประเด็นด้านสุขภาพและการดูแลแบบประคับประคอง
11 มกราคม, 2563

พื้นที่ระยะสุดท้าย : การวางผังเมืองเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้อย่างไร ?

แม้ว่าเดิมทีเราจะรู้จักความตายในนามความว่างเปล่า แต่การเสวนาในครั้งนี้ทำให้เกิดความเข้าใจที่ว่า นามสกุลของความตายนั้นยังพ่วงมาด้วยสิ่งที่จับต้องได้อย่าง คุณภาพชีวิตในพื้นที่ของผู้ป่วยระยะสุดท้าย ด้วยเหมือนกัน ความตายไม่ใช่เรื่องของความว่างเปล่าแบบที่เราเคยเข้าใจอีกต่อไป.
22 กุมภาพันธ์, 2563

สร้างสุขที่ปลายทาง ปาฐกถา และ วัตถุประสงค์

ปาฐกถาของเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ นายแพทย์ ประทีป คณะกิจเจริญ และ ปาฐกถาของอธิบดีกรมการแพทย์ นายแพทย์ สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ ในการเปิดงานสร้างสุขที่ปลายทางครั้งที่ 3