parallax background
 

ชุมชนกรุณา

เพื่อการเรียนรู้ และเข้าใจความตาย



1 พฤศจิกายน, 2561

มาลองดู…ขอดูใจแม่

ความตายเป็นเรื่องต้องห้าม ยากจะหยิบยกมาพูดคุยในชีวิตประจำวัน คนส่วนใหญ่จึงรับรู้เรื่องความเจ็บป่วยและความตายผ่านนิยายหรือละครหลังข่าว ซึ่งมีไม่น้อยที่แต่งจากความเชื่อที่ส่งต่อกันมา
11 มกราคม, 2563

พื้นที่ระยะสุดท้าย : การวางผังเมืองเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้อย่างไร ?

แม้ว่าเดิมทีเราจะรู้จักความตายในนามความว่างเปล่า แต่การเสวนาในครั้งนี้ทำให้เกิดความเข้าใจที่ว่า นามสกุลของความตายนั้นยังพ่วงมาด้วยสิ่งที่จับต้องได้อย่าง คุณภาพชีวิตในพื้นที่ของผู้ป่วยระยะสุดท้าย ด้วยเหมือนกัน ความตายไม่ใช่เรื่องของความว่างเปล่าแบบที่เราเคยเข้าใจอีกต่อไป.
29 พฤษภาคม, 2562

คุณค่าของชุมชนกรุณาในสังคมไทย

ธรรมชาติของวันเวลาคือความเปลี่ยนแปลง ซึ่งยากจะกำหนดให้เป็นไปตามใจเราปรารถนา
3 พฤศจิกายน, 2561

เราจะเสื่อมสลายไปด้วยกัน

ชายชราหันไปถามหญิงสาวที่นั่งข้างๆ ว่าเอารถจอดไว้ที่ไหนเป็นครั้งที่สิบแปดในเวลายี่สิบนาทีที่ทั้งสองนั่งรอพยาบาลเรียกเข้าไปพบแพทย์ นั่นหมายความว่าเขาหันมาถามลูกสาวด้วยประโยคเดิมแทบจะทุกสองนาที
20 ตุลาคม, 2561

ปันกันอิ่ม

โครงการ “ปันกันอิ่ม” สร้างพื้นที่และโอกาสในการแบ่งปันให้กับเจ้าของร้านอาหาร โดยลูกค้าที่สนใจแบ่งปัน สามารถจ่ายค่าอาหารหรือน้ำล่วงหน้าแล้วฝากไว้กับร้าน เพื่อแบ่งปันให้กับผู้ที่ไม่พร้อมจ่ายต่อไป
31 พฤษภาคม, 2562

พระมาโปรด

“เปิดโอกาสให้พระได้ทำหน้าที่เชิงรุกบ้าง เป็นฟางเส้นสุดท้ายก่อนตาย เป็นทางเลือกให้เขา ทำให้เขาได้ดูแลจิตใจ ได้ภาวนา มันเป็นหน้าที่ที่พระน่าจะภาคภูมิใจมากกว่าการไปสวดงานศพ ซึ่งตอนนั้นเป็นปลายเหตุ เขาไม่รับรู้อะไรแล้ว”
26 มกราคม, 2562

มรณานุสติ กระจกส่องชีวิตในมิติพระพุทธศาสนา

สำหรับคนที่อยู่ในทางธรรมหรือฝึกปฏิบัติภาวนาบ่อยๆ การเจริญภาวนาแบบมรณานุสติ อาจไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่อะไรนัก แต่ถ้าเป็นคนธรรมดาทั่วๆ ไป (อย่างผู้เขียน) คำว่ามรณานุสตินี้ฟังดูน่ากลัวไม่น้อย
16 พฤษภาคม, 2562

ชมรมชายผ้าเหลือง เพื่อเพื่อนผู้ป่วยระยะท้าย วัดห้วยยอด (ตอนที่สอง) จากโรงพยาบาลสู่ชุมชน

การทำงานของชมรมชายผ้าเหลืองในปีแรกจะเป็นการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในโรงพยาบาลหรือติดตามไปดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้านในกรณีที่โรงพยาบาลร้องขอ
28 ตุลาคม, 2562

ความหวังของคนกำลังสูงวัย: (1) ภาพรวมและข้อเสนอเชิงแนวคิด

สังคมไทยเริ่มตื่นตัวและมีการเตรียมความพร้อมรับมือกับสังคมสูงวัยอย่างเต็มรูปแบบ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและการพัฒนามนุษย์ เริ่มขยับตัวหามาตรการรองรับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว