parallax background
 

อาสามีเรื่องเล่า

เพื่อการเรียนรู้ และเข้าใจความตาย



23 พฤษภาคม, 2561

หลากหลาย แต่..ไม่แตกต่าง

เช้าตรู่วันที่ 17 เมษายน 2561 ฉันพกความสงสัยพร้อมความกังวลจากบ้านมาเต็มเป้หลัง ขณะก้าวเข้าสู่พระหฤทัยคอนแวนต์ คลองเตย สถานที่จัดกิจกรรม “วาดความตาย ออกแบบชีวิต” เป็นตึกโบราณ สถาปัตยกรรมแบบชิโนโปรตุกีส
20 มีนาคม, 2561

ตายก่อนพร้อม หรือ พร้อมก่อนตาย อันไหนดีกว่ากัน?

ขอบคุณทีมงานทุกคน เพื่อนๆ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผู้เกี่ยวข้องทุกคนค่ะ ถือเป็นจุดเริ่มต้นอย่างดีสำหรับการใคร่ครวญและเตรียมพร้อมตัวเองและคนใกล้ตัว
22 เมษายน, 2561

พลังแห่งจิต

จากการอบรมอาสาดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและระยะสุดท้าย (อาสาข้างเตียง) มีจิตอาสาบางคนกังวลว่าจะวางตัวอย่างไร และพูดอะไรกับคนไข้ เพราะมีข้อควรระวังเต็มไปหมด
26 ธันวาคม, 2560

คำตอบ…ในสายลม

แต่ละช่วงชีวิต เราทุกคนล้วนพยายามมุ่งหน้าสู่ความสำเร็จ ตั้งแต่เราเริ่มคลานด้วย 'เข่า’ เราคงนึกฝันอยากออกก้าวเดินด้วย 'เท้า’ ของเราเอง
20 เมษายน, 2561

เหลียวหลังแลหน้า การอบรมเผชิญความตายอย่างสงบ

พบว่าสาเหตุที่ทำให้ผู้ผ่านการอบรมไม่สามารถดูแลผู้ป่วยได้ เนื่องจากไม่สามารถมีส่วนร่วมในการดูแลได้มากเท่าที่ควร มีปัญหาในการสื่อสารกับผู้ป่วย รวมถึงระบบการบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลไม่สนับสนุนเท่าที่ควร
23 เมษายน, 2561

จิตอาสาดูแลผู้ป่วย สิ่งแวดล้อมของโพธิจิต

"ทำงานจิตอาสาแล้วมีความสุขค่ะ อะไรๆ ในชีวิตก็ดีขึ้น" คุณสายใจ ใจมั่น จิตอาสาดูแลผู้ป่วยใน “ทีมใส่ใจ...ใจใส” โรงพยาบาลสุรินทร์พูดถึงงานจิตอาสาของตนด้วยใบหน้าสดชื่น เบิกบาน
6 กุมภาพันธ์, 2561

ดูแลด้วยหัวใจ ใส่ใจระยะสุดท้ายของชีวิต

เมื่อวันที่ 13 ธันวาคมที่ผ่านมาทีมงานโครงการความตาย พูดได้ เครือข่ายพุทธิกา ได้มีส่วนร่วมจัดกิจกรรมในงาน “สานพลังภาคี สู่ สังคมสูงอายุ ศตวรรษที่ 21” ซึ่งจัดโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (มสพช.) สำนักงานเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน (สพช.) สำนักงานกองทุนสนับสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
2 พฤศจิกายน, 2560

Art of living and dying

เช้าวันที่ฝนตก ฉันสะพายเป้ออกจากบ้าน เดินทางไปอบรมกับทีมเบาใจไขชีวิต (โครงการความตาย พูดได้ เครือข่ายพุทธิกา) ที่จ.สงขลา และจ.ปัตตานี ระหว่างที่ใส่รองเท้า เสียงแม่จากในครัวถามว่า “กินข้าวก่อนไหม มีกระเพาะปลา”
19 เมษายน, 2561

สติ คือทางออกของทุกสิ่ง

การเป็นอาสาเยียวยาจิตใจผู้ป่วยเรื้อรังและระยะสุดท้าย หลายคนบอกว่าในฐานะอาสาสมัครต้องใช้สติเข้าช่วย ไม่ว่าสติที่อยู่กับตรงหน้ากับผู้ป่วย หรือแม้แต่สติที่ช่วยผู้ป่วยให้อยู่กับปัจจุบันขณะ