parallax background
 

ครม.เห็นชอบร่างกฏกระทรวง
ให้สิทธิผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาเพียงเพื่อยืดชีวิตจากโรคที่รักษาไม่หาย

ผู้เขียน: กองสาราณียกร หมวด: ในชีวิตและความตาย


 

๘ ธันวาคม ๒๕๕๒ นพ.ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) อนุมัติในหลักการร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการดำเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย ตามที่สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) โดยได้มอบหมายให้คณะกรรมการกฤษฎีกาไปตรวจสอบถ้อยคำในกฎหมาย และผ่านความเห็นชอบจาก ครม. แล้วเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ กำลังอยู่ในขั้น

โดย สช. กำลังดำเนินงานจัดทำคู่มือแนวทางและขั้นตอนการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรทีมสุขภาพเกี่ยวกับหนังสือแสดงเจตนาฯ และคู่มือสำหรับประชาชนทั่วไป ผู้สนใจสามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ในเว็บไซต์ www.thailivingwill.in.th หรือ ติดต่อสอบถามไปทางสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) โทรศัพท์ ๐-๒๕๙๐-๒๓๐๔ หรือศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๖๒๓-๒๑๖๓


เก็บความจาก กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ และสัมภาษณ์คุณไพศาล ลิ้มสถิตย์ ศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

[seed_social]
13 เมษายน, 2561

ประสบการณ์การก่อตั้ง สถานบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย

ในวาระที่มหาวิทยาลัยมหิดลจะก่อสร้างสถานบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายขนาดใหญ่ จึงจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ประสบการณ์การก่อตั้งสถานบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย (Hospice)”
19 เมษายน, 2561

สัญจรพิพิธภัณฑ์ศิริราช ตอน “มรณสติ : อสุภกรรมฐาน”

ทำให้ผู้เข้าร่วมได้มองเห็นชีวิตและความตายแบบเข้าใกล้มากขึ้นในอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์ตรงเพราะหลายคนอาจจะรู้สึกหวาดเสียว เพราะรู้สึกว่าเฉียดกรายเข้าไปใกล้จนเกินไป
19 เมษายน, 2561

มหิดลทุ่มพันล้าน สร้างศูนย์วิจัย ดูแลคนชรา-คนป่วยระยะท้าย

ผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายมักเคลื่อนไหวน้อยลง พื้นที่ใช้ชีวิตแคบลง การดูแลคือต้องทำให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ข้างนอกได้นานสุดเท่าที่จะนานได้ อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี และช่วยเหลือตัวเองได้ เพราะบ่อยครั้งที่เรามักดูแลโดยไม่ให้ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยระยะท้ายทำสิ่งใด สุดท้ายก็จะทำให้ร่างกายเสื่อมลงไวขึ้น